5. สรุปเนื้อหาผลงานวิจัย
    แผ่นเส้นใยคาร์บอนผลิตจากเส้นใยพืช มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นวัสดุที่มีความยาวมาก เป็นเส้น มีเส้นผ่านศูนย์กลางน้อย น้ำหนักเบา ถูกนำมาปรับเปลี่ยนพื้นผิวด้วยวิธีไพโรไลซิส ให้มีสมบัติที่เหมาะสมในการดูดซับของเหลวกลุ่มน้ำมันชนิดต่าง ๆ สารออร์แกนิค เป็นต้น มีความจำเพาะต่อการต่อการ ดูดซับส่วนที่เป็นน้ำมัน และไม่ดูดซับน้ำ นอกจากนี้ การมีรูพรุนภายในช่วยเพิ่มความจุในการดูดซับของเหลว โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
    - ใช้วัสดุตั้งต้นจากเส้นใยจากธรรมชาติ สามารถย่อยสลายได้
    - มีความจำเพาะต่อการต่อการดูดซับน้ำมันสามารถดูดซับน้ำมันได้มากกว่ากระดาษทิชชูหรือกระดาษเอนกประสงค์

6. การนำผลงานไปใช้ในเชิงพาณิชย์
    - ผลิตเป็นภาชนะซับน้ำมันของอาหารทอด
    - ซับน้ำมันบนภาชนะ หรือพื้นที่ที่มีน้ำมันรั่วไหล
    - ทำเป็นแผ่นกรองน้ำมันหรือแยกน้ำมันจากน้ำ ในการบำบัดน้ำเสีย
    - แผ่นกรองไอน้ำมัน

ติดต่อ : สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โทรศัพท์  053-873830

'>

แผ่นเส้นใยคาร์บอนดูดซับน้ำมัน
08/03/2565 , อ่าน 1063 ครั้ง

1. ชื่อผลงาน แผ่นเส้นใยคาร์บอนดูดซับน้ำมัน (Oil Absorption Carbon Fiber Sheets)
2. ชื่อนักวิจัย อาจารย์ ดร.สุภาพร ดาวทอง
3. ที่อยู่ติดต่อนักวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
4. รางวัลที่ได้รับ
    4.1 รางวัลเหรียญเงิน (Silver Prize) จากการประกวดผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมของนักวิจัยสตรี ในงาน Korea International Women’s Invention Exposition 2018 (KIWIE 2018) ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2561 ณ Hall 2A, Exhibition Center 1, KINTEX in Korea กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
    4.2 รางวัลพิเศษ (Special Award) Diploma from Invertor's Club of Georgia ประเทศจอร์เจีย

5. สรุปเนื้อหาผลงานวิจัย
    แผ่นเส้นใยคาร์บอนผลิตจากเส้นใยพืช มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นวัสดุที่มีความยาวมาก เป็นเส้น มีเส้นผ่านศูนย์กลางน้อย น้ำหนักเบา ถูกนำมาปรับเปลี่ยนพื้นผิวด้วยวิธีไพโรไลซิส ให้มีสมบัติที่เหมาะสมในการดูดซับของเหลวกลุ่มน้ำมันชนิดต่าง ๆ สารออร์แกนิค เป็นต้น มีความจำเพาะต่อการต่อการ ดูดซับส่วนที่เป็นน้ำมัน และไม่ดูดซับน้ำ นอกจากนี้ การมีรูพรุนภายในช่วยเพิ่มความจุในการดูดซับของเหลว โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
    - ใช้วัสดุตั้งต้นจากเส้นใยจากธรรมชาติ สามารถย่อยสลายได้
    - มีความจำเพาะต่อการต่อการดูดซับน้ำมันสามารถดูดซับน้ำมันได้มากกว่ากระดาษทิชชูหรือกระดาษเอนกประสงค์

6. การนำผลงานไปใช้ในเชิงพาณิชย์
    - ผลิตเป็นภาชนะซับน้ำมันของอาหารทอด
    - ซับน้ำมันบนภาชนะ หรือพื้นที่ที่มีน้ำมันรั่วไหล
    - ทำเป็นแผ่นกรองน้ำมันหรือแยกน้ำมันจากน้ำ ในการบำบัดน้ำเสีย
    - แผ่นกรองไอน้ำมัน

ติดต่อ : สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โทรศัพท์  053-873830